บทบาทของ Non-IT Auditors & IT Auditors กับ การทุจริต และการประสานงานการตรวจสอบร่วมกันอย่างเป็นระบบ

พฤษภาคม 20, 2009

ITG & IT Audit + Fraud InvestigationITG & IT Audit + Fraud Investigation

วันนี้ผมขอคุยกันในเรื่องที่ยังเป็น Hot issue อยู่ในวงการสถาบันการเงิน การตรวจสอบ การประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ++ ในหลายๆองค์กร ถึงเรื่องการทุจริตที่ ธอส และผลที่ติดตามมา ในหลายๆแง่มุม และเช้าวันนี้เช่นกัน ผมได้ดูทีวีพบข่าวเกี่ยวกับเรื่องการทุจริตบัญชีเงินฝากของลูกค้าหลายรายที่ธนาคารธนชาต สาขาอุบลราชธานี เป็นเงินเบื้องต้นประมาณ 20 ล้านบาท ก็เลยนำข้อคิดในเรื่องเกี่ยวกับบทบาทของ Non – IT Auditors กับ IT Auditors รวมทั้งการประสานงานบางมุมมองมาเล่าสู่กันฟัง ดังนี้ครับ

ITG & IT Audit + Fraud Investigation and IT Understanding

ITG & IT Audit + Fraud Investigation and IT Understanding

ส่วนใหญ่ มักตั้งเป็นคำถาม และคำถามๆ ที่มีข้อมูลและข้อเท็จจริงค่อนข้างจำกัด รวมทั้งตัวผมเองด้วยนะครับ เรื่องนี้คงได้พูดคุยและวิจารณ์กันได้หลายแง่มุมไปอีกนานทีเดียว เก็บไว้ค่อยๆคุยกันอย่างสร้างสรรเพื่อสร้างคุณค่าเพิ่มต่อกัน และแน่นอนครับว่าเรื่องนี้จะเป็น Lesson-Learned ที่ดี ในหลายมุมมอง ทั้งด้านการตรวจสอบ IT & Non-IT ++ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมุมมองของ การบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร หรือ COSO-Enterprise Risk Management

วันนี้ เรามาคุยกันในหัวข้อที่ว่า Non-IT Auditors
จะตรวจสอบการทุจริตในองค์กรที่ใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างไร ? จะมีกระบวนการตรวจสอบ ที่เริ่มจาก การกำหนดขอบเขต และการวางแผนการตรวจสอบกันอย่างไร ? ในมุมมองของการตรวจสอบแบบค้นหาการทุจริต การติดตามการทุจริต การหาหลักฐานการตรวจสอบการทุจริต การจัดทำรายงาน++

บางท่านเริ่มคำถามว่า เราจะตรวจสอบได้อย่างไรในเมื่อกระบวนการทำงาของระบบงานได้รับการประมวลผลด้วย IT Process+Technology+Manual ระดับหนึ้ง
และคำถามอีกมากมาย++

โปรดดูภาพข้างต้น และโปรดใช้ดุลยพินิจของท่าน ผสมผสานกับหลักการตรวจสอบตามฐานความเสี่ยงทั้งทางด้าน IT & Non-IT++รวมทั้งมาตรฐานการตรวจสอบที่เกี่ยวข้อง++ ท่านจะได้รับคำตอบที่น่าสนใจอย่างยิ่ง ของจุดอ่อน และส่วนที่เป็นจุดเปิดของความเสี่ยง (Exposure) ที่จะก่อให้เกิดความเสียหาย รวมทั้งการทุจริตที่คาดไม่ถึงครับ

ไว้คุยกันในตอนต่อๆไปนะครับ ผมเพียงให้ท่านที่สนใจพิจารณาว่า ความเข้าใจในการประมวลผลข้อมูล การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการกำกับ เพือการบริหาร เพื่อการตรวจสอบ นั้นมีความสำคัญเพียงใด โดยเฉพาะจาก Lesson-Learned ทั้งในประเทศและต่างประเทศครับ


บทบาทของ Non-IT Auditors & IT Auditors กับ การทุจริต และการประสานงานการตรวจสอบร่วมกันอย่างเป็นระบบ

พฤษภาคม 20, 2009

ITG & IT Audit + Fraud InvestigationITG & IT Audit + Fraud Investigation

วันนี้ผมขอคุยกันในเรื่องที่ยังเป็น Hot issue อยู่ในวงการสถาบันการเงิน การตรวจสอบ การประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ++ ในหลายๆองค์กร ถึงเรื่องการทุจริตที่ ธอส และผลที่ติดตามมา ในหลายๆแง่มุม และเช้าวันนี้เช่นกัน ผมได้ดูทีวีพบข่าวเกี่ยวกับเรื่องการทุจริตบัญชีเงินฝากของลูกค้าหลายรายที่ธนาคารธนชาต สาขาอุบลราชธานี เป็นเงินเบื้องต้นประมาณ 20 ล้านบาท ก็เลยนำข้อคิดในเรื่องเกี่ยวกับบทบาทของ Non – IT Auditors กับ IT Auditors รวมทั้งการประสานงานบางมุมมองมาเล่าสู่กันฟัง ดังนี้ครับ

ITG & IT Audit + Fraud Investigation and IT Understanding

ITG & IT Audit + Fraud Investigation and IT Understanding

ส่วนใหญ่ มักตั้งเป็นคำถาม และคำถามๆ ที่มีข้อมูลและข้อเท็จจริงค่อนข้างจำกัด รวมทั้งตัวผมเองด้วยนะครับ เรื่องนี้คงได้พูดคุยและวิจารณ์กันได้หลายแง่มุมไปอีกนานทีเดียว เก็บไว้ค่อยๆคุยกันอย่างสร้างสรรเพื่อสร้างคุณค่าเพิ่มต่อกัน และแน่นอนครับว่าเรื่องนี้จะเป็น Lesson-Learned ที่ดี ในหลายมุมมอง ทั้งด้านการตรวจสอบ IT & Non-IT ++ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมุมมองของ การบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร หรือ COSO-Enterprise Risk Management

วันนี้ เรามาคุยกันในหัวข้อที่ว่า Non-IT Auditors
จะตรวจสอบการทุจริตในองค์กรที่ใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างไร ? จะมีกระบวนการตรวจสอบ ที่เริ่มจาก การกำหนดขอบเขต และการวางแผนการตรวจสอบกันอย่างไร ? ในมุมมองของการตรวจสอบแบบค้นหาการทุจริต การติดตามการทุจริต การหาหลักฐานการตรวจสอบการทุจริต การจัดทำรายงาน++

บางท่านเริ่มคำถามว่า เราจะตรวจสอบได้อย่างไรในเมื่อกระบวนการทำงาของระบบงานได้รับการประมวลผลด้วย IT Process+Technology+Manual ระดับหนึ้ง
และคำถามอีกมากมาย++

โปรดดูภาพข้างต้น และโปรดใช้ดุลยพินิจของท่าน ผสมผสานกับหลักการตรวจสอบตามฐานความเสี่ยงทั้งทางด้าน IT & Non-IT++รวมทั้งมาตรฐานการตรวจสอบที่เกี่ยวข้อง++ ท่านจะได้รับคำตอบที่น่าสนใจอย่างยิ่ง ของจุดอ่อน และส่วนที่เป็นจุดเปิดของความเสี่ยง (Exposure) ที่จะก่อให้เกิดความเสียหาย รวมทั้งการทุจริตที่คาดไม่ถึงครับ

ไว้คุยกันในตอนต่อๆไปนะครับ ผมเพียงให้ท่านที่สนใจพิจารณาว่า ความเข้าใจในการประมวลผลข้อมูล การใช้ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการกำกับ เพือการบริหาร เพื่อการตรวจสอบ นั้นมีความสำคัญเพียงใด โดยเฉพาะจาก Lesson-Learned ทั้งในประเทศและต่างประเทศครับ